วันพฤหัสบดีที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2558

บทที่ 4 สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น

1. สมดุลกล 
      1.1 สมดุลสถิต หมายถึง สมดุลของวัตถุที่หยุดนิ่ง
      1.2 สมดุลจลน์ หมายถึง สมดุลของวัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว
 2. สมดุลของแรงหลายแรง
      2.1 สมดุลของแรง 2 แรง
            - แรงลัพธ์ของแรงสองแรงเท่ากับศูนย์
            -แรงทั้งสองมีขนาดเท่ากันและมีทิศทางตรงกันข้ามกัน
            -แนวแรงทั้งสองอยู่บนเส้นตรงและระนาบเดียวกัน
     2.2 สมดุลของแรง 3 แรง
            - แรงลัพธ์ของแรงสามแรงมีค่าเท่ากับศูนย์
            - แรงทั้งสามพบกันที่จุดๆ หนึ่งและไม่จำเป็นต้องอยู่บนระนาบเดียวกัน...อ่านเพิ่ม


   

บทที่ 3 เเรง มวลเเละกฎการเคลื่อนที่

การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
      1. การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง แบ่งเป็น 2 แบบ คือ
              1.1
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงที่ไปทิศทางเดียวกันตลอด เช่น โยนวัตถุขึ้นไปตรงๆ รถยนต์  กำลังเคลื่อนที่ไปข้างหน้าในแนวเส้นตรง
              1.2
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นเส้นตรง แต่มีการเคลื่อนที่กลับทิศด้วย เช่น รถแล่นไปข้างหน้าในแนวเส้นตรง เมื่อรถมีการเลี้ยวกลับทิศทาง ทำให้ทิศทางในการเคลื่อนที่ตรงข้ามกัน
       2.  
อัตราเร็ว ความเร่ง และความหน่วงในการเคลื่อนที่ของวัตถุ
              2.1
อัตราเร็วในการเคลื่อนที่ของวัตถุ คือระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ใน 1 หน่วยเวลา
              2.2
ความเร่งในการเคลื่อนที่ หมายถึง ความเร็วที่เพิ่มขึ้นใน 1 หน่วยเวลา เช่น วัตถุตกลงมาจากที่สูงในแนวดิ่ง
              2.3
ความหน่วงในการเคลื่อนที่ของวัตถุ หมายถึง ความเร็วที่ลดลงใน 1 หน่วยเวลา เช่น โยนวัตถุขึ้นตรงๆ ไปในท้องฟ้า ...อ่านเพิ่ม

บทที่ 2 การเคลื่อนที่เเนวราบและเเนวดิ่ง

การเคลื่อนที่แนวราบ
            การเคลื่อนที่แนวราบของวัตถุ  เป็นการเคลื่อนที่ที่ไม่เปลี่ยนทิศทาง  เช่น  การเคลื่อนที่ของลูกมะพร้าวเมื่อตกจากต้นสู่พื้นดิน  การเคลื่อนที่ของรถยนต์บนถนนตรง  การเคลื่อนที่ของนักกีฬาว่ายน้ำในลู่ของสระ  เป็นต้น     ในขณะที่รถยนต์เริ่มเคลื่อนที่บนถนนตรง  คนขับจะเหยียบคันเร่งทำให้รถเคลื่อนที่เร็วขึ้น  ถ้าสังเกตที่เข็มวัดอัตราเร็วบนหน้าปัดของรถ  จะพบว่าเข็มเบนมากขึ้น  แสดงว่ารถเคลื่อนที่ด้วย อัตราเร็ว  (speed)  เพิ่มขึ้น  และถ้าพิจารณาทิสของการเคลื่อนที่ด้วย  ความเร็ว   (velocity)  เพิ่มขึ้น...อ่านเพิ่ม

การเคลื่อนที่แนวดิ่ง
                เป็นการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกอย่างอิสระภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลกเพียงแรงเดียว การเคลื่อนที่ลักษณะนี้จะไม่คิดแรงต้านของอากาศ
สมการการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
                เนื่องจากการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง คือ การการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงแบบหนึ่ง ดังนั้น สมการในการคำนวณจึงเหมือนกับสมการการเคลื่อนที่ในแนวราบเพียงแต่เปลี่ยนค่า a เป็นg เท่านั้น...อ่านเพิ่ม
Image result for การเคลื่อนที่แนวดิ่ง

บทที่ 1 บทนำ

หน่วยที่ใช้คือระบบหน่วยระหว่างชาติหรือหน่วย SI (International System of Unit)ประกอบด้วย

1. หน่วยฐาน มี 7 หน่วย

ปริมาณฐาน
ชื่อหน่วย
สัญลักษณ์
ความยาว
เมตร
m
มวล
กิโลกรัม
kg
เวลา
วินาที
s
กระแสไฟฟ้า
แอมแปร์
A
อุณหภูมิ
เคลวิน
K
ปริมาณของสาร
โมล
mol
ความเข้มของการส่องสว่าง
แคนเดลา
cd

เลขนัยสำคัญ
หลักการนับเลขนัยสำคัญ
1. ถ้าอยู่ในรูปจำนวนเลขทศนิยมให้เริ่มนับตัวเลขแรกที่เป็นเลขโดด (1 ถึง 9)  ตัวเลขถัดไปนับหมดทุกตัว เช่น  0.561,  5.02,  10.00,  0.50   มีจำนวนเลขนัยสำคัญ  3,  3,  2,   4  และ  2  ตัว ตามลำดับ...อ่านเพิ่ม